Thanachart One Report 2021 - TH

ค่าเผื่อผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ โดยอ้างอิงจาก ข้อมูลผลขาดทุนด้านเครดิตจากประสบการณ์ในอดีต ปรับปรุงด้วย ข้ อมูลการคาดการณ์ ไปในอนาคตเกี่ยวกับลูกหนี้นั้นและ สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ นโยบายการบัญชีที่ถือปฏิบัติก่อนวันที่ 1 มกราคม 2563 ก) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้เงินให้สินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนาคารและบริษัท บริหารสินทรัพย์ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อตาม หลักเกณฑ์ที่ก� ำหนดโดย ธปท. และปรับปรุงเพิ่มด้วยจ� ำนวนเงินเพิ่มเติมที่ คาดว่าจะเรียกเก็บจากลูกหนี้ไม่ได้ โดยการวิเคราะห์และประเมิน ฐานะของลูกหนี้จากประสบการณ์ในการพิจารณาความเสี่ยงและ มูลค่าหลักประกันประกอบค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ตั้งเพิ่ม (ลด) บันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายในระหว่างปี ส� ำหรับลูกหนี้เงินให้สินเชื่อ (ยกเว้นลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ส่วนบุคคลของบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนาคาร) ที่จัดชั้นเป็น หนี้ปกติ (รวมลูกหนี้ที่ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้) และจัดชั้นเป็น หนี้กล่าวถึงเป็นพิเศษ บริษัทฯและบริษัทย่อยกันส� ำรองในอัตรา ไม่ต�่ ำกว่าร้อยละ 1 และ 2 ตามล� ำดับ ของยอดหนี้เงินต้นคงค้าง (ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ) หลังหักหลักประกัน และส� ำหรับลูกหนี้ ด้อยคุณภาพ บริษัทฯและบริษัทย่อยกันเงินส� ำรองในอัตราร้อยละ 100 ส� ำหรับส่วนต่างระหว่างยอดหนี้ตามบัญชีกับมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้หรือมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจ� ำหน่ายหลักประกัน โดยใช้อัตราดอกเบี้ยคิดลดและระยะเวลาที่คาดว่าจะจ� ำหน่าย หลักประกันได้ตามหลักเกณฑ์ของ ธปท. ทั้งนี้ ส� ำหรับลูกหนี้ ด้อยคุณภาพที่เป็นลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อหรือลูกหนี้ตามสัญญา เช่าการเงินจะถือว่าไม่มีหลักประกัน และส� ำหรับลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อส่วนบุคคลของบริษัทย่อย ที่ประกอบธุรกิจธนาคาร บริษัทย่อยกันเงินส� ำรองเป็นกลุ่มลูกหนี้ (Collective Approach) ตามการจัดกลุ่มลูกหนี้ที่มีความเสี่ยง ลักษณะเดียวกัน โดยพิจารณาจากผลขาดทุนจากประสบการณ์ ในอดีต ซึ่งค� ำนวณจากค่าความน่าจะเป็นที่ลูกหนี้จะผิดนัดช� ำระหนี้ (Probability of default) และร้อยละของความเสียหายที่อาจจะ เกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้ผิดนัดช� ำระหนี้ต่อยอดหนี้ (Loss given default) นอกจากนี้ บริษัทย่อยได้พิจารณากันส� ำรองเพิ่มเติม โดยค� ำนึงถึง ผลสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นเพิ่มเติมจากปัจจัยทางเศรษฐกิจที่อาจมี ผลกระทบต่อความสามารถในการช� ำระหนี้ของลูกหนี้ โดยค่าตัวแปร และข้อสมมติฐานต่าง ๆ ที่ใช้ในการค� ำนวณนี้ได้มีการสอบทาน รายละเอียดและทบทวนความเหมาะสมอย่างสม�่ ำเสมอ ข) บริษัทที่ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ สูญโดยการประเมินฐานะของลูกหนี้แต่ละราย โดยพิจารณาความ เสี่ยงในการเรียกช� ำระและมูลค่าของหลักทรัพย์ที่ใช้ค�้ ำประกัน และ ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเมื่อหนี้นั้นมีหลักประกันไม่เพียงพอและ/หรือ มีโอกาสได้รับช� ำระคืนไม่ครบ ทั้งนี้ บริษัทย่อยถือพื้นฐานการจัด ชั้นหนี้และตั้งส� ำรองตามหลักเกณฑ์ที่ก� ำหนดโดย ก.ล.ต. ค) บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจให้เช่าซื้อและให้เช่าการเงิน ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตราร้อยละของยอดลูกหนี้ที่ค้างช� ำระ สุทธิจากรายได้ที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ โดยค� ำนึงถึงจ� ำนวนเดือน คงค้างเป็นเกณฑ์ (อ้างอิงจากเกณฑ์การจัดชั้นหนี้ของ ธปท.) โดย ลูกหนี้ที่ค้างช� ำระไม่น้อยกว่า 3 เดือนจะพิจารณาตั้งค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญโดยไม่หักหลักประกัน ง) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้อื่นตั้งขึ้นโดยประมาณ จากจ� ำนวนหนี้ที่อาจเรียกเก็บจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งพิจารณาจาก สถานะปัจจุบันของลูกหนี้คงค้าง ณ วันที่ในงบการเงิน จ) บริษัทฯและบริษัทย่อยจะตัดจ� ำหน่ายลูกหนี้ออกจากบัญชี เมื่อเห็นว่าจะไม่สามารถเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้ได้ โดยการ ตัดจ� ำหน่ายลูกหนี้เป็นหนี้สูญ และหนี้สูญที่ได้รับคืนจะน� ำไปลดหรือ เพิ่มค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ นโยบายการรับรู้รายได้ - รายได้จากเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ดอกเบี้ยและส่วนลดรับจากเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ เงินให้สินเชื่อตามสัญญาเช่าซื้อและเช่าการเงิน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 บริษัทย่อยรับรู้รายได้จากสัญญา เช่าซื้อและเช่าการเงินตามเกณฑ์คงค้างตามวิธีอัตราผลตอบแทน ที่แท้จริง (Effective interest method) ตลอดระยะเวลาของสัญญา โดยค� ำนวณจากมูลค่าตามบัญชีขั้นต้นของลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ และเช่าการเงิน โดยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงคืออัตราที่ใช้คิด ลดประมาณการกระแสเงินสดรับในอนาคตตลอดอายุที่คาดไว้ของ เครื่องมือทางการเงิน โดยค� ำนึงถึงส่วนลดหรือส่วนเกินในการได้มา ซึ่งสินทรัพย์ และค่าธรรมเนียมตลอดจนต้นทุนที่เป็นส่วนหนึ่งของ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ส� ำหรับลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อและเช่าการเงินที่มีการด้อยค่า ด้านเครดิตในภายหลัง บริษัทย่อยรับรู้รายได้ดอกเบี้ยตามวิธีอัตรา ผลตอบแทนที่แท้จริง โดยค� ำนวณจากยอดหนี้สุทธิทางบัญชีของ ลูกหนี้นั้น (ยอดหนี้คงค้างสุทธิจากค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่ คาดว่าจะเกิดขึ้น) หากต่อมาสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าวไม่ด้อยค่า ด้านเครดิตแล้ว บริษัทย่อยจะค� ำนวณรายได้ดอกเบี้ยบนมูลค่าตาม บัญชีดังเดิม (ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2563 บริษัทย่อยมีนโยบาย หยุดรับรู้รายได้ดอกเบี้ยของลูกหนี้ที่ผิดนัดช� ำระดอกเบี้ยเกินก� ำหนด 3 เดือนนับจากวันครบก� ำหนดช� ำระ) 48

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3