Thanachart One Report 2021 - TH

กลุ่มที่ 2: สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส� ำคัญ ของความเสี่ยงด้านเครดิต (Under- Performing) ส� ำหรับสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งความเสี่ยงด้านเครดิตมีการ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส� ำคัญนับตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก แต่ ไม่ได้มีการด้อยค่าด้านเครดิต บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นด้วยจ� ำนวนเงินที่เท่ากับ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุที่คาดไว้ของ สินทรัพย์ทางการเงิน กลุ่มที่ 3: สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Non-Performing) สินทรัพย์ทางการเงินจะถูกประเมินว่าด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อ เหตุการณ์หนึ่งหรือหลายเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดผลเสียหาย ต่อกระแสเงินสดในอนาคตของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นเกิดขึ้น โดยบริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้นด้วยจ� ำนวนเงินที่เท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้นตลอดอายุที่คาดไว้ของสินทรัพย์ทางการเงินนั้น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อย จะท� ำการประเมินว่าความเสี่ยงด้านเครดิตของสินทรัพย์ทาง การเงินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส� ำคัญนับจากวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก หรือไม่ โดยเปรียบเทียบความเสี่ยงของการผิดสัญญาที่คาดว่า จะเกิดขึ้นของสินทรัพย์ทางการเงิน ณ วันที่รายงาน กับความเสี่ยง ของการผิดสัญญาที่จะเกิดขึ้นของสินทรัพย์ทางการเงิน ณ วันที่ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ในการประเมินนั้น บริษัทฯและบริษัทย่อย อาจใช้เกณฑ์เชิงปริมาณหรือเกณฑ์เชิงคุณภาพภายในของบริษัทฯ และบริษัทย่อยและข้อมูลคาดการณ์เป็นเกณฑ์ในการประเมินการ ลดลงของคุณภาพด้านเครดิตของลูกหนี้ เช่น ลูกหนี้ค้างช� ำระเกิน กว่า 30 วัน และในการประเมินว่าความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่าง มีนัยส� ำคัญนับจากวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือไม่ จะพิจารณา เป็นรายสัญญาหรือรายกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงินก็ได้ สินทรัพย์ทางการเงินจะถือว่ามีการด้อยค่าด้านเครดิต เมื่อ เกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งหรือหลายเหตุการณ์ที่ท� ำให้เกิด ผลกระทบต่อประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตของคู่สัญญา โดยหลักฐานที่แสดงว่าสินทรัพย์ทางการเงินมีการด้อยค่าด้านเครดิต จะรวมถึงการค้างช� ำระเกินกว่า 90 วัน หรือมีข้อบ่งชี้ว่าผู้กู้ก� ำลัง ประสบปัญหาทางการเงินอย่างมีนัยส� ำคัญ สถานะกฎหมาย การเจรจา ต่อรองเงื่อนไขใหม่ หรือการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ในรอบระยะเวลาต่อมา หากคุณภาพด้านเครดิตของสินทรัพย์ ทางการเงินเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น และประเมินได้ว่าความเสี่ยง ด้านเครดิตไม่ได้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส� ำคัญนับจากวันที่รับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรกเหมือนที่เคยประเมินไว้ในงวดก่อน บริษัทฯและบริษัทย่อย จะเปลี่ยนการรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก การรับรู้ผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุที่คาดไว้ เป็นรับรู้ ด้วยผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้าง หน้าได้ เงินให้สินเชื่อที่มีการเจรจาต่อรองเงื่อนไขใหม่หรือเปลี่ยนแปลง เงื่อนไขของกระแสเงินสดตามสัญญาเนื่องจากผู้กู้ประสบปัญหา ทางการเงินจะถือเป็นสินทรัพย์ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยส� ำคัญหรือด้อยค่าด้านเครดิต ยกเว้นจะมีหลักฐานที่แสดงว่า ความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับกระแสเงินสดตามสัญญานั้นลดลงอย่าง มีสาระส� ำคัญและไม่มีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่า ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นประมาณจากค่า ความน่าจะเป็นของผลขาดทุนด้านเครดิตถ่วงน�้ ำหนักตลอดช่วง อายุที่คาดไว้ของเครื่องมือทางการเงิน โดยอ้างอิงจากมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะไม่ได้รับทั้งหมด ซึ่งอ้างอิงจากข้อมูล ประสบการณ์ผลขาดทุนในอดีตตามกลุ่มของสินทรัพย์ที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยพิจารณาว่าความเสี่ยงด้านเครดิตมีลักษณะร่วมกัน เช่น ประเภทของการกู้ยืม ประเภทของหลักประกัน ระยะเวลาของ สัญญา และปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง และปรับปรุงด้วยข้อมูลที่สังเกต ได้ในปัจจุบัน บวกกับการพยากรณ์ในอนาคตที่สนับสนุนและ มีความสมเหตุสมผลหากพิสูจน์ได้ว่ามีความสัมพันธ์กันทางสถิติ รวมถึงการใช้ดุลยพินิจอย่างเหมาะสมในการประมาณการผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยใช้ข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ มหภาค และท� ำการประเมินทั้งสถานการณ์ปัจจุบันและการพยากรณ์ สภาวะเศรษฐกิจในอนาคต และความน่าจะเป็นถ่วงน�้ ำหนักใน แต่ละสถานการณ์ (ทั้งสถานการณ์พื้นฐาน (Base scenario) สถานการณ์ขาขึ้น (Best scenario) และสถานการณ์ขาลง (Worst scenario)) มาใช้ในการค� ำนวณผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้น ซึ่งการน� ำข้อมูลการคาดการณ์ในอนาคตมาใช้เป็นการ เพิ่มระดับของการใช้ดุลยพินิจในการประเมินว่าการเปลี่ยนแปลงเชิง เศรษฐศาสตร์มหภาคที่เกี่ยวข้องส่งผลกระทบต่อผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างไร อย่างไรก็ตาม บริษัทฯและ บริษัทย่อยจะจัดให้มีการสอบทานและทบทวนวิธีการ ข้อสมมติฐาน และการคาดการณ์สถานการณ์เศรษฐกิจในอนาคตอย่างสม�่ ำเสมอ นอกจากนี้ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นยังรวมถึง ส่วนเพิ่มจากการบริหารจัดการ (Management Overlay) ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นที่ตั้งเพิ่ม (ลด) บันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายในระหว่างปีในส่วนของก� ำไรหรือขาดทุน ในงบก� ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีนโยบายตัด จ� ำหน่ายลูกหนี้ออกจากบัญชีเมื่อเห็นว่าจะไม่สามารถเรียกเก็บเงิน จากลูกหนี้ได้ ส� ำหรับสินทรัพย์ทางการเงินอื่นหรือสินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญา ที่ไม่มีองค์ประกอบเกี่ยวกับการจัดหาเงินที่มีนัยส� ำคัญ บริษัทย่อย จะใช้วิธีการอย่างง่าย (Simplified approach) ในการพิจารณา 47 แบบ 56-1 One Report / รายงานประจ� ำปี 2564 บริษัท ทุนธนชาต จ� ำกัด (มหาชน)

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3