Thanachart One Report 2021 - TH

1.3 การขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อความยั่งยืน กลุ่มธนชาต เป็นองค์กรธุรกิจที่มุ่งมั่นในการด� ำเนินธุรกิจเพื่อ ให้มีผลประกอบการที่ดีอย่างมั่นคงและยั่งยืน รวมถึงการมีวิสัยทัศน์ ที่จะ “สร้างผลตอบแทนที่เหมาะสมอย่างยั่งยืนให้กับผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่าย” ดังนั้นการบรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว จ� ำเป็นที่จะต้องให้ความ ส� ำคัญด้านความยั่งยืน ภายใต้การด� ำเนินงานที่ค� ำนึงถึงผลกระทบ ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ใน 3 ด้านหลัก คือ มิติด้านเศรษฐกิจ (Economy) มิติด้านสังคม (Social) และมิติด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) เพื่อสร้างสรรค์ พัฒนา และเติมเต็มให้ธุรกิจ ด� ำเนินการร่วมไปกับการสร้างความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มุ่งเน้นให้เกิดการด� ำเนินงานที่ครอบคลุม ประเด็นส� ำคัญต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการด� ำเนินงานของกลุ่มธนชาต มากที่สุด บริษัทฯ เป็นบริษัทจดทะเบียนใน ตลท. อยู่ในกลุ่มธุรกิจการเงิน (Financials) และหมวดธุรกิจธนาคาร (Banking) โดยเป็นบริษัท ที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) ในการจัดท� ำรายงานการขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อความยั่งยืนนี้ เป็นการ น� ำเสนอผลการด� ำเนินงานด้านความยั่งยืนครอบคลุมมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ของบริษัทในกลุ่มที่ด� ำเนินธุรกิจประกันภัย ธุรกิจประกันชีวิต ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเช่าซื้อและลีสซิ่ง ธุรกิจ บริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ และธุรกิจให้สินเชื่อที่มีหลักประกัน ซึ่งเป็นข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2564 โครงสร้างการก� ำกับดูแล การด� ำเนินการด้านความยั่งยืนของกลุ่มธนชาตมีโครงสร้าง การก� ำกับดูแล โดยคณะกรรมการ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการ สรรหา ก� ำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล มีหน้าที่เป็น ผู้ก� ำหนดกลยุทธ์ นโยบาย และเป้าหมายการด� ำเนินการ และมี แผนที่จัดตั้งคณะกรรมการด� ำเนินงานด้านความยั่งยืนกลุ่มธนชาต ในปี 2565 โดยมีกรรมการผู้จัดการใหญ่ของบริษัทฯ เป็นประธาน และมีตัวแทนของผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ และบริษัท ในกลุ่ม ร่วมเป็นกรรมการ ท� ำหน้าที่พิจารณาแนวทางด� ำเนินการ ด้านความยั่งยืน ก� ำกับดูแลเสนอคณะกรรมการสรรหา ก� ำหนด ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และติดตามผลการด� ำเนินงาน รวมถึงทบทวนแนวปฏิบัติ ตลอดจนส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ พนักงานในกลุ่มธนชาตในการด� ำเนินการ และมีหน่วยงานดูแล ด้านความยั่งยืน ซึ่งอยู่ภายใต้ส� ำนักเลขานุการองค์กร โดยบริษัท ในกลุ่มธนชาตร่วมกันน� ำกลยุทธ์ นโยบาย ไปปฏิบัติให้เกิดผลส� ำเร็จ ตอบสนองความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มได้อย่างยั่งยืน นโยบายและเป้าหมายการจัดการด้านความยั่งยืน กลุ่มธนชาต ให้ความส� ำคัญในการด� ำเนินธุรกิจเพื่อให้เกิด ความยั่งยืน ซึ่งจะน� ำมาสู่การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่าง บริษัทในกลุ่มธนชาตและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายของกลุ่มธนชาต โดยได้น� ำแนวทางการจัดการด้านความยั่งยืนมาปรับใช้ในการ ด� ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องมาตลอด และมีแผนที่จะก� ำหนดนโยบาย การด� ำเนินการด้านความยั่งยืนขึ้นประกาศเป็นลายลักษณ์อักษร ในปี 2565 เพื่อเป็นแนวทางในการด� ำเนินการอย่างเหมาะสมกับธุรกิจ ที่กลุ่มธนชาตด� ำเนินการอยู่ ให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ของกลุ่มธนชาต รวมถึงมีการก�ำหนดเป้าหมายระยะสั้น และระยะยาว เพื่อให้เห็น พัฒนาการและผลการด� ำเนินงานด้านความยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีเป้าหมายการจัดการด้านความยั่งยืนในแต่ละมิติ ดังนี้ 1. มิติด้านเศรษฐกิจ ในด้านเศรษฐกิจ กลุ่มธนชาตมีเป้าหมายการจัดการที่ต้องการ เป็นกลุ่มธุรกิจที่สร้างผลตอบแทนให้เติบโตได้อย่างยั่งยืน โดยมี คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการสรรหา ก� ำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล คณะกรรมการด� ำเนินงานด้านความยั่งยืน กลุ่มธนชาต (CEO TCAP เป็นประธาน) หน่วยงานดูแลด้านความยั่งยืน ภายใต้ส� ำนักเลขานุการองค์กร บริษัทในกลุ่ม 67 แบบ 56-1 One Report / รายงานประจ� ำปี 2564 บริษัท ทุนธนชาต จ� ำกัด (มหาชน)

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3