Thanachart One Report 2021 - TH

แบบ 56-1 One Report / รายงานประจ� ำปี 2564 บริษัท ทุนธนชาต จ� ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ราชธานีลิสซิ่งและบริษัทย่อย มีเงินสดจ� ำนวน 476 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสดสุทธิลดลงจ� ำนวน 568 ล้านบาท ลดลงจากสิ้นปี 2563 ที่มีเงินสดจ� ำนวน 1,044 ล้านบาท เกิดจากกระแสเงินสดสุทธิที่ได้มาจากกิจกรรมด� ำเนินงานจ� ำนวน 1,404 ล้านบาท ซึ่งมาจากการจัดหาเงินทุนเพื่อรองรับการปล่อยสินเชื่อของ ราชธานีลิสซิ่ง ในขณะที่มีกระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เพื่อการปล่อยสินเชื่อตามปกติของราชธานีลิสซิ่ง จ� ำนวน 1,958 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสุทธิใช้ไปจากกิจกรรมการลงทุนจ� ำนวน 13 ล้านบาท อัตราส่วนสภาพคล่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ราชธานีลิสซิ่งและบริษัทย่อย มีอัตราสภาพคล่อง 1.01 เท่า โดยมีสินทรัพย์หมุนเวียนรวมจ� ำนวน 18,966 ล้านบาท และมีหนี้สินหมุนเวียนรวมจ� ำนวน 18,778 ล้านบาท มีสินทรัพย์หมุนเวียนรวมมากกว่าหนี้สินหมุนเวียนรวม จ� ำนวน 188 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ราชธานีลิสซิ่งและบริษัทย่อย ยังคงมีความคล่องตัวของฐานะการเงินในระยะสั้น เนื่องจากหนี้ สินหมุนเวียนรวมโดยส่วนใหญ่มาจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบัน การเงิน (B/E และ P/N) และส่วนของหุ้นกู้ครบก� ำหนดช� ำระ ภายในระยะเวลา 1 ปี โดยเงินกู้ยืมระยะสั้นทั้งสองส่วนดังกล่าว ส่วนใหญ่สามารถที่จะหาชดเชยโดยการออกใหม่เมื่อเงินกู้ครบ อายุไถ่ถอนหรือครบก� ำหนด ประกอบกับราชธานีลิสซิ่งยังมีวงเงิน กู้ระยะสั้นส� ำรองจากสถาบันการเงินอื่นต่าง ๆ จึงท� ำให้ความเสี่ยง ในด้านสภาพคล่องอยู่ในระดับที่ยอมรับได้และไม่กระทบต่อ การด� ำเนินธุรกิจหลัก ในส่วนของอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็วอยู่ที่ระดับ 1.00 เท่า ไม่แตกต่างจากอัตราส่วนสภาพคล่องเนื่องจากสินทรัพย์หมุนเวียน ของราชธานีลิสซิ่งและบริษัทย่อยส่วนใหญ่เป็นสินทรัพย์ที่มีสภาพ คล่องสูงโดยคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของสินทรัพย์หมุนเวียนรวม ปัจจัยหรือเหตุการณ์ที่อาจมีผลต่อฐานะการเงินหรือการ ด� ำเนินงานอย่างมีนัยส� ำคัญในอนาคต การด� ำเนินธุรกิจของราชธานีลิสซิ่งในรอบปีที่ผ่านมาท่ามกลาง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่เกิดขึ้นในระหว่าง ปี 2563 ราชธานีลิสซิ่งได้ด� ำเนินตามมาตรการต่าง ๆ ทั้งในส่วน ของที่เป็นมาตรการช่วยเหลือของราชธานีลิสซิ่ง รวมถึงมาตรการ การช่วยเหลือที่ก� ำหนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อช่วย เหลือลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์การแพร่ระบาดในครั้งนี้ แม้เศรษฐกิจไทยจะอยู่ในเส้นทางการฟื้นตัว แต่สถานการณ์ข้าง หน้ายังคงมีความไม่แน่นอนสูงมากตามพัฒนาการการแพร่ระบาด ของโควิด 19 ระลอกใหม่ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจหาก เกิดการระบาดในวงกว้างจนน� ำมาสู่การใช้มาตรการที่เข้มงวดสูง นโยบายการเปิดรับนักท่องเที่ยวในปี 2564 ยังขึ้นอยู่กับประสิทธิผล และความรวดเร็วในการจัดหาและกระจายวัคซีน จึงเป็นโจทย์ ส� ำคัญของภาคธุรกิจในการบริหารจัดการความเสี่ยง ส่งผลให้การ ฟื้นตัวทางเศรษฐกิจโดยรวมมีความไม่แน่นอนอยู่ค่อนข้างมาก โดยราชธานีลิสซิ่งยังคงติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด รวมถึง ประเมินผลกระทบโดยเฉพาะในส่วนของคุณภาพสินทรัพย์อย่าง ต่อเนื่อง และด� ำเนินธุรกิจด้วยความรอบคอบระมัดระวัง จากสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้เป็นปัจจัยหรือเหตุการณ์ ที่อาจมีผลต่อฐานะการเงินหรือการด� ำเนินการงานอย่างมีนัยส� ำคัญ ในอนาคต โดยสรุปได้ดังนี้ 1. สถานการณ์การแพร่ ระบาดของโควิด-19 การใช้ มาตรการล็อคดาวน์เพื่อควบคุมการระบาดระลอกใหม่ เน้นแบบเฉพาะเจาะจงในแง่พื้นที่และภาคธุรกิจมากขึ้น อาจจะกระทบไม่มากเท่ากับปิดเมืองในรอบแรก ปัจจัยที่ คาดว่าจะมีผลกระทบคือมาตรการล็อคดาวน์แบบไหน และจะสามารถควบคุมการระบาดระลอกใหม่นี้ได้เมื่อไร โดยการค้นพบวัคซีนช่วงปลายปี 2563 เป็นความหวัง กระแสเงินสด 31 ธ.ค. 2564 31 ธ.ค. 2563 เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด� ำเนินงาน 1,404 5,925 เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน (13) (16) เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน (1,958) (5,294) เงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ (567) 615 เงินสดและเงินฝากธนาคาร 476 1,044 สภาพคล่อง (หน่วย: ล้านบาท) 121

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3